วันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ปัญหาของ การติดเชื้อ S.aureus และ E.coli ในการเลี้ยงไก่เนื้อ

ปัญหาของ การติดเชื้อ S.aureus และ E.coli ในการเลี้ยงไก่เนื้อ
( Problem of S.aureus and E.coli in broilers )


ประจำเดือน พฤษภาคม 2009
เรียบเรียงโดย น.สพ.ชัชวาลย์ สอนศรี
ผช.กรรมการผู้จัดการ


ภาพรวมของปญหา E.coliโรคนี้กอใหเกิดความเสียหายในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไกเนื้อ เปนอันมาก อาจพบอัตราการตายสูงถึง 30% จนถึง 50% ซึ่งการรักษาดวยยาปฏิชีวนะนั้นก็ ไมไดผลดีเทาที่ควร ทั้งอัตราการตายที่
คอนขางสูงและยังตองมีการใชยาสงผลใหตนทุนการ ผลิตไกตอหนวยคอนขางสูง

ภาพความเสียหาย
ในการเลี้ยงไกสิ่งที่ม  ผลกระทบมากอย่างหนึ่งก็คือการติดเชื้อ E.coli โดยเฉพาะในชวง
ตนปของปีนี้มีลักษณะความเสียหาย ดังนี้
· อัตราการปวยคอนขางสูง แทบจะทุกฟารมสามารถพบไกปวยเปนโรคนี้ ได
· อัตราการตายสูง ในชวงการเลี้ยงสองสัปดาหแรกอาจมีอัตราการตายสูง ถึง 10-20%
· การรักษาไมไดผลเทาที่ควร
· ถึงแมการรักษาจะลดอัตราการตายได แตในตลอดระยะเวลาการเลี้ยง สามารถพบการปวยซ้ำไดอีก 2-3 ครั้ง ทําใหตองใชยาบอยครั้งตลอดรอบการเลี้ยงนั้นๆ สงผลใหตนทุนการเลี้ยงสูงขึ้น
· พบเสมอวาไกที่ปวยตายนั้น ไมไดพบวาปวยดวย E.coli เพียงอยางเดียว มักพบมีการปวยดวยโรคอื่นๆร่วมดวย เชน โรคนิวคาสเซิล (ND) โรคติดเชื้อหลอดลม อักเสบ (IB) โรคกัมโบโร (IBD) และโรคติดเชื้ออื่นๆ ดวยเหตุนี้เองเมื่อผาซากจะพบ วิการของโรคหลายโรค ทําใหคอนขางยากในการตัดสินใจเลือกแนวทางการรักษา

สาเหตุ
1. สําหรับการติดเชื้อ E.coli สามารถมีการติดเชื้อมาไดตั้งแตฟารมไกพอแมพันธุ ตลอดจน กระบวนการขนสงจนถึงฟารม ถาหากมีการติดเชื้อคอนขางรุนแรงจะพบวาลูกไกเกิดสะดือ อักเสบ ทองเสียถายเปนสีขาว
2. เมื่อลูกไกมาถึงฟารมลูกคาแลว ยังมีทางการติดเชื้ออีกหลายทาง อาทิเชน การ ปนเปอนเชื้อ E.coli ในน้ำที่ใหไกกินซึ่งเปนชองทางการติดเชื้อที่สําคัญ หรือติดเชื้อจาก สิ่งแวดลอมในเลา ไมวาจะเปนวัสดุรองพื้น หรือเชื้อที่ลอยอยูในอากาศ
3. การระบายอากาศที่ไมดีที่สงผลใหเกิดแกสแอมโมเนียในเลาสูง กาซ คารบอนไดออกไซดสูง จนถึงไอเสียที่เกิดจากการเผาถานหินใหความรอนในเลาไก ทําใหการ ทํางานของเซลลพัดโบกที่ระบบทางเดินหายใจของไกถูกทําลาย สงผลใหเชื้อ E.coli เขาสู ระบบทางเดินหายใจไก เกิดถุงลมอักเสบตามมา
4. เมื่อไกเกิดการปวยดวยโรค E.coli เกษตรกรมักจะใหยาหลากหลายชนิดดวยความไม เขาใจ ซึ่งจะสงผลใหแบคทีเรียที่เปนประโยชนตอรางกายรวมถึง E.coli ชนิดที่กอประโยชน ตอรางกายถูกทําลายไปดวย อาจสงผลใหเกิดโรคอื่นๆ ตามมา
5. E.coli ชนิดที่กอใหเกิดโรคนั้น พบไดทั่วไปตามสิ่งแวดลอมที่ไกอยู ถาการ สุขาภิบาลหรือความสะอาดในเลาไมดีพอ สภาพภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยางมากในรอบ วัน บวกกับไกอยูในภาวะเครียด เหลานี้จะทําใหไกปวยดวยการติดเชื้อ E.coli อยางรวดเร็ว

การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพ
เชื้อ E.coli มีมากมายหลายชนิดดวยกัน ซึ่งในแตละชนิดจะกอใหเกิดพยาธิสภาพในแต
ละอวัยวะไมเหมือนกัน แตมักจะรวมกันกอโรคใหเกิดพยาธิสภาพในหลายอวัยวะพรอมๆ กัน
เมื่อทําการผาซากไกที่ปวยจากการติดเชื้อ E.coli จะพบมีหนองและไฟบรินหุมตับ เยื่อหุม
หัวใจอักเสบและมีหนอง ถุงลมอักเสบและมีหนอง ผนังชองทองและชองอกอักเสบ เยื่อหุมขอ
ตออักเสบ เยื่อบุอวัยวะตางๆ บวมน้ำ ลําไสอักเสบ สมองอักเสบ subcutaneous edema อวัยวะ
ภายในมีจุดเลือดออกหรือมีเลือดออก พบการดูดซึมไมหมดของไขแดง ฯลฯ ในไกใหญแลว
เมื่อมีการติดเชื้อ E.coli อาจพบภาวะทองมานได และถ้ามีการติดเชื้อ S.aureus ร่วมด้วยก็อาจจะพบวิการทางสมอง สมองอักเสบร่วมด้วย
เชื้อ E.coli มีหลายชนิดดวยกัน และการดื้อยานั้นมักแตกตางกันในแตละชนิดของเชื้อ E.coli
ทําใหการใชยาบางครั้งไดผล บางครั้งไมไดผล อีกทั้งกระบวนการดื้อยาของเชื้อ E.coli ดําเนิน
ไปคอนขางเร็ว ทําใหยาที่เคยใชไดผลระยะเวลาหนึ่ง เมื่อเวลาผานไปมักใหผลในการรักษาไม
ดีเทาตอนแรก




ลักษณะอาการ
สวนใหญมักแสดงอาการไอ มีเสียงกรน หายใจมีเสียงดัง ทองเสียเปนสีขาว สีเหลือง สีเขียว หนังตาบวม น้ำตาไหล หายใจลําบาก ฯลฯ เมื่อไกตายแลวผิวหนังเปนคล้ำา ซากขาด น้ำ

สรุป
การปวยเนื่องจากการติดเชื้อ E.coli นั้น มีสาเหตุโนมนํามาจากการจัดการไมดี การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอยางรวดเร็ว แนวทางการปองกันโรคที่เกิดจากเชื้อ E.coli สามารถกระทําโดย
1. ตองมีการปรับการระบายอากาศและอุณหภูมิใหเหมาะสมและสัมพันธกัน
2. ความหนาแนนของพื้นที่การเลี้ยงตอตัวเหมาะสม
3. ความชื้นภายในเลามีความเหมาะสม ซึ่งอยูที่ 60-70%
4. อาหารและน้ำที่ใหไกตองใหในปริมาณที่เหมาะสม และสะอาด
5. วางแนวทางปองกันเชื้อจากภายนอกเขาภายในฟารม โดยเนนเรื่องระบบความ
ปลอดภัยทางชีวภาพ
6. เนนการสุขาภิบาลภายในและนอกเลา



เอกสารอ้างอิง
· IPV_ Poulty New_ July 2007
· http://chat-chan-chtooo.blogspot.com/2008/04/avian-cellulitis.html

ไม่มีความคิดเห็น: